เมนู

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติ-
ธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

5. สมนันตรปัจจัย


[1838] 1. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.


6. สหชาตปัจจัย ฯลฯ 8. นิสสยปัจจัย


เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ในปัจจัย
ทั้ง 3 พึงกระทำเป็น 17 วาระ.


9. อุปนิสสยปัจจัย


[1839] 1. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

ที่ 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะที่เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[1840] 2. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[1841] 3. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[1842] 4. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[1843] 5. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[1844] 6. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[1845] 7. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[1846] 8. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[1847] 9. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[1848] 10. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.

[1849] 11. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[1850] 12. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[1851] 13. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.

[1852] 14. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[1853] 15. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[1854] 16. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.

[1855] 17. มัคคเหตุธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[1856] 18. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัตตเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่-
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[1857] 19. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[1858] 20. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น

อารัมมณูปนิสสยะ

ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว พิจารณา.
[1859] 21. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

10. อาเสวนปัจจัย


[1860] 1. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย.